Learning log 4
อาจารย์ทบทวนความรู้ก่อนการที่จะเริ่มเรียนวิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ในเรื่อง ความหมายลักษณะพัฒนาการ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่เป็นไปตามลำดับขั้นตอนอย่างต่อเนื่องตามขั้นบันได (ความสามารถของเด็กที่แสดงออกในแต่ละช่วงอายุ) เพื่อนำไปจัดประสบการณ์ให้เหมาะกับช่วงอายุของเด็ก
ทฤษฎีเพียเจต์ กล่าวใน ด้านสติปัญญาการทำงานของสมอง
อายุ 0-2 ปี ขั้นรับรู้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
อายุ 2-4 ปี ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด (Pre-operation stage)
อายุ 4-7 ปี ใช้เหตุผลได้ จะเรียกว่า ขั้นอนุรักษ์ (Conservation)
ทฤษฎีด้านสติปัญญา ได้แก่ เพียเจต์ บรูเนอร์
ทฤษฎีด้านภาษา ได้แก่ ไวก็อตสกี้ กานเย่
ทฤษฎีด้านสังคม ได้แก่ มาสโลว์
ทฤษฎีด้านคุณธรรมจริยธรรม ไ้ดแก่ โคลเบิร์ก
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์ หมายถึง สิ่งต่างที่อยู่รอบตัวเรา ที่สามารถนำมาเรียนรู้และประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจำวันของเรา
ความสำคัญของวิทยาศาสตร์
ได้แก่ ใช้สร้างเครื่องมือทางการแพทย์ การเพาะปลูกขยายพันธุ์ และส่งผลต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์
สาเหตุที่ทำให้เด็กปฐมวัยอยากเรียนรู้วิทยาศาสตร์
1.การอยากรู้อยากเห็น
2.การแสวงหาความรู้ความสามารถการแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง
3.เป็นวัยที่มีการพัฒนาสมองมากกที่สุด คือช่วง 0-2 ปี (80%)
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
เป็นทักษะที่ส่งเสริมให้เด็กสามารถคิดหาเหตุผล แสวงหาความรู้ แก้ไขปัญหาได้ตามวัยของเด็ก ผู้สอนควรจัดกิจกรรมที่ให้เด็กได้ลงมือกระทำตามสิ่งแวดล้อมรอบๆตัวเด็ก
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย มี 6 ทักษะ ดังนี้
1.ทักษะการสังเกต (Observation)
เป็นการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 โดยตรงกับวัตถุ เพื่อมีจุดประสงค์ที่จะหาข้อมูลในรายละเอียดนั้นๆ
เช่น การสังเกตรูปร่างทั่วไป
2.ทักษะการจำแนกประเภท (Classifying)
เป็นความสามารถในการแบ่งประเภทของสิ่งของโดยใช้เกณฑ์ (Criteria)
เช่น ความเหมือน (หมวกที่มีสีเหมือนกัน) ความแตกต่าง (กล่องใบใหญ่-กล่องใบเล็ก) ความสัมพันธ์ร่วม (รูปภาพรถ-ถนน)
3.ทักษะการวัด ( Measurement)
เป็นการใช้เครื่องมือต่างๆ เพื่อวัดหาปณิมาณในสิ่งที่เราต้องการทราบ
เช่น รู้จักกับสิ่งของที่จะวัดเป็นอย่างไร การเลือกเครื่องมือมาวัด วิธีการการวัด
4.ทักษะการสื่อความหมาย (Communication)
เป็นการพูด การเขียน การสร้างรูปภาพและภาษาท่าทาง การแสดงสีหน้า เพื่อให้รับข้อมูลได้อย่างถูกต้อง เช่น ต้องรู้จักลักษณะคุณสมบัติวัตถุ บันทึกการเปลี่ยนแปลง การบอกความสัมพันธ์ของข้อมูลที่จัดทำได้ การจัดทำข้อมูลในรูปแบบต่างๆ
5.ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล (Interring)
เป็นการเพิ่มเติมความคิดเห็นให้กับข้อมูลที่มีอยู่อย่างมีเหตุผล โดยอาศัยความรู้หรือประสบการณ์ต่างๆ เช่น การหาข้อสรุปเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ การสรุปความสัมพันธ์สิ่งของต่างๆ การสังเกตการเปลี่ยนแปลงสิ่งต่างๆรอบตัว
6.ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา (Space)
เป็นการเรียนรู้ใน 1 มิติ 2 มิติ 3 มิติ การเขียนภาพ 2 มิติแทนรูป 3 มิติ และการบอกทิศทาง
เช่น การบอกความสัมพันธ์ระหว่างทิศทางกับวัตถุ การบอกตำแหน่งซ้าย-ขวา
การสังเกตภาพ 2 มิติ 3 มิติ
7.ทักษะการคำนวณ (Calculation)
เป็นความสามารถในการนับจำนวนของวัตถุต่างๆ การบวก ลบ คูณ หาร ความยาว ความสูง
เช่น การคำนวณรายรับ-รายจ่าย การคำนวณความยาวของรองเท้า
ทำไมต้องสอนวิทยาศาสตร์
1.มาตราฐานการศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัย ได้แก่ มีความสามารถในการคิดวิเคาระห์ สังเคราะห์ วิจารณญาณและมีความคิดสร้างสรรค์
2.หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย 2561
3.การนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน
สมองกับวิทยาศาสตร์
1.การตีความข้อมูล
2.การเชื่อมโยงความจริงเข้าหากัน
3.การประเมินคุณค่า
4.การจำแนกองค์ประกอบ
คุณสมบัติที่เอื้อต่อทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
1.การเข้าใจในสิ่งที่วิเคราะห์
2.การสังเกตและตั้งคำถาม 5W1H
3.การมีความสามารถในการลงความเห็น
4.การหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผล
องค์ประกอบการคิดทางวิทยาศาสตร์
1.สิ่งที่กำหนดให้ เช่น การสังเกต การจำแนก
2.หลักการและเกณฑ์การจำแนก คือ ความสัมพันธ์กันในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
3.การค้นหาความจริง คือ การรวบรวมประเด็นเพื่อนำมาสรุป
ความสามรถในการลงความเห็นจากข้อมูล (คำถาม)
การค้นหาคำตอบได้ เช่น อะไรคือสาเหตุที่ทำให้ฝนตก
กระบวนการคิดทางวิทยาศาสตร์
1.การกำหนดสิ่งที่ศึกษา
2.การกำหนดปัญหาหรือวัตถุประสงค์
3.การกำหนดหลักเกณฑ์
4.การสรุปผล
ประเมินตนเอง
เข้าเรียนตรงต่อเวลา แต่งกายเรียบร้อย และจดเนื้อหาที่สำคัญเพื่อนำไปทบทวนความรู้อีกครั้งหลังการเรียน
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆบางส่วนมาเข้าเรียนสาย แต่ทุกคนก็ตั้งใจเรียน และช่วยกันตอบคำถามอาจารย์ทุกคนเป็นอย่างดีค่ะ
ประเมินอาจารย์
อาจารย์อธิบายรายละเอียดเนื้อหาที่เรียนในเรื่อง ทักษะวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยได้อย่างเข้าใจดี และแนะนำส่วนที่ต้องไปแก้ไขในเรื่องแฟ้มสะสมผลงานอิเล็คทรอนิกส์ให้เรียบร้อย
E-portfollo to the Science Experience Management for Early Childhood EAED3207 Semster 1/2560
วันพุธที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2561
วันพุธที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2561
Wednesday 22 August 2018
Learning log 3
วันนี้อาจารย์ได้มอบหมายให้เขียนกิจกรรมที่จะไปทำในสวนสัตว์เขาดินของแต่ละกลุ่มที่จะไปศึกษาดูงานที่สวนสัตว์เขาดินในอาทิตย์หน้าค่ะ
โดยให้เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย เพื่อพัฒนาทักษะทั้ง 4 ด้าน คือ การฟัง การพูด การอ่าน การเขียน
โดยแต่ละกลุ่มได้ร่วมกันวางแผนกิจกรรมที่จะนำไปจัดให้กับเพื่อนๆ โดยมีบทบาทสมมุติให้เพื่อนๆ กลุ่มหนึ่งเป็นเด็กนักเรียน กลุ่มของตนเองแต่ละกลุ่มจะเป็นคุณครู และเพื่อนๆที่เป็นเด็กนักเรียนให้ทำกิจกรรมของแต่ละฐานที่จัดเตรียมไว้ให้ทำ
ส่วนกลุ่มดิฉัน ได้ตั้งชื่อกิจกรรมว่า ฐานเติมภาพสร้างสรรค์ มีหัวข้อ ดังนี้
1.วัตถุประสงค์
1.1 เพื่อให้เด็กศึกษาชื่อและโครงสร้างของสัตว์
2.1 กำหนดหัวข้อกิจกรรม เติมภาพสร้างสรรค์
3.1 กระดาษ
3.2 สี
3.3 ดินสอ
ประเมินตนเอง
แต่งกายเรียนบร้อย ตั้งใจฟังอาจารย์อธิบายรายละเอียดในการจัดทำกิจกรรมที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สหหรับเด็กเป็นอย่างดีค่ะ
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆทุกกลุ่มร่วมกันช่วยกันวางแผนการจัดทำกิจกรรมที่จะไปทำที่สวนสัตว์เขาดิน กันอย่างตั้งใจ มุ่งมั่นกันอย่างเต็มที่ค่ะ
ประเมินอาจารย์
อาจารย์ให้คำแนะนำในการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ได้อย่างละเอียดและเป็นขั้นตอนอย่างเข้าใจง่ายค่ะ
วันนี้อาจารย์ได้มอบหมายให้เขียนกิจกรรมที่จะไปทำในสวนสัตว์เขาดินของแต่ละกลุ่มที่จะไปศึกษาดูงานที่สวนสัตว์เขาดินในอาทิตย์หน้าค่ะ
โดยให้เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย เพื่อพัฒนาทักษะทั้ง 4 ด้าน คือ การฟัง การพูด การอ่าน การเขียน
โดยแต่ละกลุ่มได้ร่วมกันวางแผนกิจกรรมที่จะนำไปจัดให้กับเพื่อนๆ โดยมีบทบาทสมมุติให้เพื่อนๆ กลุ่มหนึ่งเป็นเด็กนักเรียน กลุ่มของตนเองแต่ละกลุ่มจะเป็นคุณครู และเพื่อนๆที่เป็นเด็กนักเรียนให้ทำกิจกรรมของแต่ละฐานที่จัดเตรียมไว้ให้ทำ
ส่วนกลุ่มดิฉัน ได้ตั้งชื่อกิจกรรมว่า ฐานเติมภาพสร้างสรรค์ มีหัวข้อ ดังนี้
1.วัตถุประสงค์
1.1 เพื่อให้เด็กศึกษาชื่อและโครงสร้างของสัตว์
1.2 เพื่อให้เด็กสังเกตและรู้จักการจำแนกประเภทของสัตว์
1.3 เพื่อให้เด็กเข้าใจว่าทำไมต้องทำดีกับสัตว์หรือ
ต้องช่วยกันอนุรักษ์สัตว์
1.4.เพื่อให้เด็กได้ฝึกทักษะทั้ง 4 ด้าน การฟัง การพูด การอ่าน
และการเขียน
2.วิธีการ2.1 กำหนดหัวข้อกิจกรรม เติมภาพสร้างสรรค์
2.2 วางแผนกิจกรรม เติมภาพสร้างสรรค์ร่วมกันภายในกลุ่ม
2.3 ดำเนินกิจกรรมโดย
ครูผู้สอนอธิบายวิธีการทำกิจกรรมและแจกใบกิจกรรมพร้อม
อุปกรณ์ในการทำ
2.4 ให้เด็กเริ่มศึกษาข้อมูลของสัตว์ในเขาดินและลงมือทำใบกิจกรรม
2.5 ครูและเด็กร่วมกันอภิปรายถึงกิจกรรมเติมภาพสร้างสรรค์
2.6 ครูนำผลงานของเด็กมาวบรวมทำแฟ้มสะสมผลงาน
3.อุปกรณ์3.1 กระดาษ
3.2 สี
3.3 ดินสอ
ประเมินตนเอง
แต่งกายเรียนบร้อย ตั้งใจฟังอาจารย์อธิบายรายละเอียดในการจัดทำกิจกรรมที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สหหรับเด็กเป็นอย่างดีค่ะ
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆทุกกลุ่มร่วมกันช่วยกันวางแผนการจัดทำกิจกรรมที่จะไปทำที่สวนสัตว์เขาดิน กันอย่างตั้งใจ มุ่งมั่นกันอย่างเต็มที่ค่ะ
ประเมินอาจารย์
อาจารย์ให้คำแนะนำในการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ได้อย่างละเอียดและเป็นขั้นตอนอย่างเข้าใจง่ายค่ะ
วันพุธที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2561
Wednesday 15 August 2018
Learning log 2
วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มเขียนแผนผังความคิด เรื่อง สวนสัตว์เขาดิน โดยให้เขียนว่าในสวนสัตว์เขาดินมีอะไรบ้าง
กลุ่มดิฉัน ได้เขียนแผนผังความคิด เรื่อง เขาดิน ออกเป็น 4 หัวข้อ ได้แก่
1.ประวัติ
-ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.2481
-มีเนื้อท่ี่ 18 ไร่
-มีสัตว์ประมาณ 2,000
-ที่ตั้ง 71 ถ.พระราม 5 ดุสิต กรุงเทพ
2.สัตว์
-สัตว์บก เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น ช้าง ม้า ยีราฟ ออกลูกเป็นไข่ เช่น นกกระจอกเทศ ไก่ ไก่ฟ้า ไก่แจ้
-สัตว์น้ำ เช่น ปลา โลมา แมวน้ำ
-สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ เช่น จระเข้ เต่า เพนกวิน
3.สถานที่
-อาคารพิพิธภัณฑ์สัตว์
-อาคารสัตว์หากินกลางคืน
-อาคารแสดงสัตว์เลื้อยคลาน
-เกาะนก
4.อาหาร
-กินเนื้อ เช่น โลมา เสือ สิงโต งู
-กินพืช ผักผลไม้ เช่น แกะ นก ลิง ชะนี เก้ง
และได้มีการประเมินการทำแผนผังความคิดของเพื่อนๆในแต่ละกลุ่มด้วยค่ะ
วิทยาศาสตร์ มี 3 ประเภท ได้แก่
1.วิทยาศาสตร์กายภาพ ที่เกี่ยวกับธรรมชาติและปรากฏการณ์ต่างๆบนโลก-จักรวาล เช่น ฟิสิกส์-เคมี
2.วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ที่เกี่ยวกับธรรมชาติและปรากฏการณ์ต่างๆบนโลก-จักรวาล เช่น ชีววิทยา
3.วิทยาศาสตร์สังคม ที่เกี่ยวกับธรรมชาติและพฤติกรรมของมนุษย์ เช่น สังคมศาสตร์
เครื่องมือที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ ได้แก่ การจดบันทึก การถ่ายรูป
ต่อมาอาจารย์ได้ให้ช่วยกันระดมความคิดว่าในสวนสัตว์เขาดินมีอะไรบ้างที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ได้แก่
1.สไลดเดอร์ เป็นแรงโน้มถ่วง คือ การลงมาจากที่สูงมายังที่ต่ำ
2.ชื่อเฉพาะทางวิทยาศาสตร์พืชพันธ์ุไม้ต่างๆ
3.ระบบนิเวศ การพึงพาอาศัยของสัตว์และพืช
4.กังหันลม ใช้พลังงานลงในการขับเคลื่อน
5.กังหันน้ำ ใช้พลังงานน้ำในการขับเคลื่อน
6.การขยายพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์
7.แหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์แต่ละชนิด
8.การย่อยสลายของมูลสัตว์และพืช
9.การดองเพื่อคงสภาพสิ่งมีชีวิตเพื่อศึกษา
10.การให้อาหารสัตว์แต่ละชนิด
11.ชนิดของดินในการเพาะปลูกพืช
12.การแยกประเภทขยะ เป็นการนำกลับมาใช้ใหม่
13.สิ่งมีชีวิตของพันธ์ุพืช
14.สายพันธุ์ของสัตว์ เช่น ไก่ ก็มี ไก่แจ้ ไก่ฟ้า
สุดท้ายเป็นการทำกิจกรรมการพูดคำศัพท์กับภาษาอังกฤษเพื่อฝึกทักษะการพูด การฟัง การเขียนภาษาอังกฤษให้กับนักศึกษา
2.animal สัตว์
3.land animal สัตว์บก
4.aquatic animal สัตว์น้ำ
5.mammal animal สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
6.environment สิ่งแวดล้อม
7.animal feed อาหารสัตว์
8.animal show การแสดงโชว์สัตว์
9.knowledge ความรู้
10.activities กิจกรรม
ประเมินตนเอง
เข้าเรียนตรงต่อเวลา แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจทำงานที่อาจารย์มอบหมายให้ทำกับเพื่อนอย่างตั้งใจ และให้ความร่วมมือการตอบคำถามเมื่ออาจารย์ถามค่ะ
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆเข้าเรียนตรงต่อเวลา ทุกคนทำงานอย่างตั้งใจและช่วยกันตอบคำถามอาจารย์อย่างตั้งใจกันทุกคนค่ะ
ประเมินอาจารย์
อาจารย์แนะนำส่วนที่ต้ิงเพิ่มเติมการทำแผนผังความคิดให้กับทุกกลุ่มเป็นอย่างดี และฝึกให้นักศึกษาใช้ภาษาอังกฤษให้มากขึ้นเป็นอย่างดีค่ะ
วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มเขียนแผนผังความคิด เรื่อง สวนสัตว์เขาดิน โดยให้เขียนว่าในสวนสัตว์เขาดินมีอะไรบ้าง
กลุ่มดิฉัน ได้เขียนแผนผังความคิด เรื่อง เขาดิน ออกเป็น 4 หัวข้อ ได้แก่
1.ประวัติ
-ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.2481
-มีเนื้อท่ี่ 18 ไร่
-มีสัตว์ประมาณ 2,000
-ที่ตั้ง 71 ถ.พระราม 5 ดุสิต กรุงเทพ
2.สัตว์
-สัตว์บก เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น ช้าง ม้า ยีราฟ ออกลูกเป็นไข่ เช่น นกกระจอกเทศ ไก่ ไก่ฟ้า ไก่แจ้
-สัตว์น้ำ เช่น ปลา โลมา แมวน้ำ
-สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ เช่น จระเข้ เต่า เพนกวิน
3.สถานที่
-อาคารพิพิธภัณฑ์สัตว์
-อาคารสัตว์หากินกลางคืน
-อาคารแสดงสัตว์เลื้อยคลาน
-เกาะนก
4.อาหาร
-กินเนื้อ เช่น โลมา เสือ สิงโต งู
-กินพืช ผักผลไม้ เช่น แกะ นก ลิง ชะนี เก้ง
และได้มีการประเมินการทำแผนผังความคิดของเพื่อนๆในแต่ละกลุ่มด้วยค่ะ
วิทยาศาสตร์ มี 3 ประเภท ได้แก่
1.วิทยาศาสตร์กายภาพ ที่เกี่ยวกับธรรมชาติและปรากฏการณ์ต่างๆบนโลก-จักรวาล เช่น ฟิสิกส์-เคมี
2.วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ที่เกี่ยวกับธรรมชาติและปรากฏการณ์ต่างๆบนโลก-จักรวาล เช่น ชีววิทยา
3.วิทยาศาสตร์สังคม ที่เกี่ยวกับธรรมชาติและพฤติกรรมของมนุษย์ เช่น สังคมศาสตร์
เครื่องมือที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ ได้แก่ การจดบันทึก การถ่ายรูป
ต่อมาอาจารย์ได้ให้ช่วยกันระดมความคิดว่าในสวนสัตว์เขาดินมีอะไรบ้างที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ได้แก่
1.สไลดเดอร์ เป็นแรงโน้มถ่วง คือ การลงมาจากที่สูงมายังที่ต่ำ
2.ชื่อเฉพาะทางวิทยาศาสตร์พืชพันธ์ุไม้ต่างๆ
3.ระบบนิเวศ การพึงพาอาศัยของสัตว์และพืช
4.กังหันลม ใช้พลังงานลงในการขับเคลื่อน
5.กังหันน้ำ ใช้พลังงานน้ำในการขับเคลื่อน
6.การขยายพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์
7.แหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์แต่ละชนิด
8.การย่อยสลายของมูลสัตว์และพืช
9.การดองเพื่อคงสภาพสิ่งมีชีวิตเพื่อศึกษา
10.การให้อาหารสัตว์แต่ละชนิด
11.ชนิดของดินในการเพาะปลูกพืช
12.การแยกประเภทขยะ เป็นการนำกลับมาใช้ใหม่
13.สิ่งมีชีวิตของพันธ์ุพืช
14.สายพันธุ์ของสัตว์ เช่น ไก่ ก็มี ไก่แจ้ ไก่ฟ้า
สุดท้ายเป็นการทำกิจกรรมการพูดคำศัพท์กับภาษาอังกฤษเพื่อฝึกทักษะการพูด การฟัง การเขียนภาษาอังกฤษให้กับนักศึกษา
คำศัพท์ภาษาอังกฤษ
1.zoo สวนสัตว์2.animal สัตว์
3.land animal สัตว์บก
4.aquatic animal สัตว์น้ำ
5.mammal animal สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
6.environment สิ่งแวดล้อม
7.animal feed อาหารสัตว์
8.animal show การแสดงโชว์สัตว์
9.knowledge ความรู้
10.activities กิจกรรม
ประเมินตนเอง
เข้าเรียนตรงต่อเวลา แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจทำงานที่อาจารย์มอบหมายให้ทำกับเพื่อนอย่างตั้งใจ และให้ความร่วมมือการตอบคำถามเมื่ออาจารย์ถามค่ะ
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆเข้าเรียนตรงต่อเวลา ทุกคนทำงานอย่างตั้งใจและช่วยกันตอบคำถามอาจารย์อย่างตั้งใจกันทุกคนค่ะ
ประเมินอาจารย์
อาจารย์แนะนำส่วนที่ต้ิงเพิ่มเติมการทำแผนผังความคิดให้กับทุกกลุ่มเป็นอย่างดี และฝึกให้นักศึกษาใช้ภาษาอังกฤษให้มากขึ้นเป็นอย่างดีค่ะ
วันอังคารที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2561
Wednesday 8 August 2018
Learning log 1
วันนี้เป็นวันแรกของการเรียน วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศสาตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ได้มอบหมายงานให้นักศึกษา ให้ไปสร้างบล็อกของวิชา การจัดประสบการณ์ทาง
วิทยาศสาตร์สำหรับเด็กปฐมวัย และ หาหนังสือวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวกับเด็กปฐมวัย
ชื่อหนังสือ: Discovery โลกของแมลง
เขียนโดย : Peter J.Nesky
แปลและเรียบเรียง: สุรัตนา เลิศประเสริฐกุล
เนื้อหาภายในเล่มมีเรื่องเกี่ยวกับ การกำเนิดของแมลง ลักษณะทางกายภาพของแมลง วิวัฒนาการการกินและขยายพันธุ์ของแมลง มุมมองด้านลบของแมลง ความแตกต่างของแมลงกับแมง และการจำแนกประเภทของแมลงตัวน้อย
1.การกำเนิดของแมลง
ตั้งแต่ยุคดึกดำบรรพ์ กว่า 400 ล้านปีมาแล้ว แมลงเป็นสัตว์น้อยที่มีรูปร่างเปราะบาง พวกเราจีงไม่สามารถเห็นพวก "ฟอสซิล" ของแมลงที่มีอายุมากขนาด 400 ล้านปี
ซึ่งนักกีฏวิทยา (ศาสตร์ของการศึกษาด้านแมลง) ได้ประมาณการว่าบนโลกมีแมลงมากมายและสามารถแบ่งเป็นพันธุ์ได้มากถึง 50 ล้านชนิด แต่จึงได้จำแนกแบบง่ายๆ ดังนี้
ผีเสื้อในประเทศไทยมี 1,200 ชนิด รวมกันทั่วโลกมีมากกว่า 19,000 ชนิด ด้วงทั่วโลกมีมากกว่า 100,000 ชนิด ตั๊กแตนก็มีมากกว่า 10,000 ชนิดทั่วโลก ส่วนแมลงปอในเมืองไทยมีไม่น้อยกว่า
300 ชนิด มีมดประมาณเกือบ 1,000 ชนิด แต่รวมกันทั้งโลกมีประมาณ 8,000 ชนิด ส่วนแมลงวันทั้งโลกมีเกือบ 10,000 ชนิดด้วยกัน
2.ลักษณะทางกายภาพของแมลง
แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนหัว อกและท้อง ในช่วงอกและท้องไม่ค่อยมีอวัยวะต่างๆมากมาย และในส่วนหัว จะประกอบไปด้วยกกะโหลกและอวัยวะต่างๆ ดังนี้
ตา หนวด ปาก คอ อก ขา ปีก และท้อง
2.1 วัฏจักรชีวิตของแมลง มี 4 แบบ ดังนี้
2.1.1 การเปลี่ยนแปลงที่สมบูรณ์ มี 4 ขั้น คือ ตัวอ่อน-หนอน-ดักแด้-ผีเสื้อ แมลงวัน ด้วงและยุง
2.1.2 การเปลี่ยนแปลงรูปร่างแต่ไม่สมบูรณ์ มี 3 ขั้น คือ วางไข่-ตัวอ่อน(หายใจทางเหงือก)-ลอกคราบ เช่น แมลงปอและแมลงชีปะขาว
2.1.3 การเปลี่ยนแปลงรูปร่างทีละน้อย คือ ไข่-ตัวอ่อน-ลอกคราบ เช่น แมลงสาบ เหา และปลวก
2.1.4 การเปลี่ยนแปลงรูปร่างเลย เปลี่ยนแต่ขนาด เมื่อฟักไข่ เช่น แมลงสองง่าม แมลงหางดีด และแมลงสามง่าม
3.วิวัฒนาการการกินและขยายพันธุ์ของแมลง
แมลงจะกินตั้งแต่ลำต้น ใบ ดอก รากและผลของพืช
แมลงจะขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ ตัวเป็นแม่จะวางไข่ไว้กับแหล่งอาหารเพื่อให้ลูกที่ฟักออกมามีอาหารกัดกินอย่างอุดมสมบูรณ์
-แมลงตัวผู้จะมี อัณฑะ 1 คู่ ในอัณฑะจะมีท่ออสุจิ ผลิตอสุจิ
4.มุมมองด้านลบของแมลง
แมลงสามารถทำลายผลิตผลทางเกษตร ได้แก่ เพลี้ยไฟ หนอนกระทู้กล้า แมลงบั่ว หนอนห่อใบข้าว แมลงสิง เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล
แมลงร้ายที่เป็นศัตรูพืชชนิดอื่นๆ นอกจากทำลายนาข้าว ได้แก่ มออดิน เพลี้ยยข้าวโพดอ่อน หนอนเจาะฟักข้าวโพด ตั๊กแตนปาทังก้า เพลี้ยไก่แจ้ เพลี้ยแป้ง
แมลงที่ทำร้ายมนุษย์ ได้แก่ แมลงหวี่ แมลงวันบ้าน แมลงวันหัวเขียว ยุง
5.ความแตกต่างของแมลงกับแมง
แมลง
-มี 3 ส่วน คือ หัว อกและท้อง
-แมลงมี 6 ขา
-แมลงมีทั้งมีปีกและไม่มีปีก อาจจะมีปีก 1 หรือ 2 คู่
-แมลงมีทั้งแบบตารวมและตาเดี่ยว
แมง
-มี 2 ส่วน คือ หัวและท้อง
-แมงมี 8-10 ขา
-แมงไม่มีหนวด
-แมงทุกชนิดไม่มีปีก
-แมงไม่มีตารวม มีแต่ตาเดี่ยว
6.การจำแนกประเภทของแมลงตัวน้อย
6.1 กลุ่มแมลงปีกแข็ง
-ด้วงกินพืช เช่น ด้วงน้ำมัน ด้วงขาโต แมลงทับ
-ด้วงกินเนื้อสัตว์ เช่น แมลงตับเต่า
-ด้วงกิน๙ากสัตว์ เช่น ด้วงกว่าง
ประเมินตนเอง
แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงต่อเวลา และทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่าางตั้งใจค่ะ
ประเมินเพื่อน
มีเพื่อนๆบางส่วนที่ไม่มาเข้าพบอาจารย์ ส่วนคนที่มาก็ตั้งใจทำงานที่อาจารย์มอบหมายให้ทำเสร็จได้ทันตามเวลาที่อาจารย์กำหนดค่ะ
ประเมินอาจารย์
อาจารย์ได้สั่งงานอย่างระเอียด และทำความเข้าใจกับเรื่องชั่วโมงที่เรียนกับนักศึกษาอย่างเข้าใจกันดีค่ะ
วันนี้เป็นวันแรกของการเรียน วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศสาตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ได้มอบหมายงานให้นักศึกษา ให้ไปสร้างบล็อกของวิชา การจัดประสบการณ์ทาง
วิทยาศสาตร์สำหรับเด็กปฐมวัย และ หาหนังสือวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวกับเด็กปฐมวัย
ชื่อหนังสือ: Discovery โลกของแมลง
เขียนโดย : Peter J.Nesky
แปลและเรียบเรียง: สุรัตนา เลิศประเสริฐกุล
เนื้อหาภายในเล่มมีเรื่องเกี่ยวกับ การกำเนิดของแมลง ลักษณะทางกายภาพของแมลง วิวัฒนาการการกินและขยายพันธุ์ของแมลง มุมมองด้านลบของแมลง ความแตกต่างของแมลงกับแมง และการจำแนกประเภทของแมลงตัวน้อย
1.การกำเนิดของแมลง
ตั้งแต่ยุคดึกดำบรรพ์ กว่า 400 ล้านปีมาแล้ว แมลงเป็นสัตว์น้อยที่มีรูปร่างเปราะบาง พวกเราจีงไม่สามารถเห็นพวก "ฟอสซิล" ของแมลงที่มีอายุมากขนาด 400 ล้านปี
ซึ่งนักกีฏวิทยา (ศาสตร์ของการศึกษาด้านแมลง) ได้ประมาณการว่าบนโลกมีแมลงมากมายและสามารถแบ่งเป็นพันธุ์ได้มากถึง 50 ล้านชนิด แต่จึงได้จำแนกแบบง่ายๆ ดังนี้
ผีเสื้อในประเทศไทยมี 1,200 ชนิด รวมกันทั่วโลกมีมากกว่า 19,000 ชนิด ด้วงทั่วโลกมีมากกว่า 100,000 ชนิด ตั๊กแตนก็มีมากกว่า 10,000 ชนิดทั่วโลก ส่วนแมลงปอในเมืองไทยมีไม่น้อยกว่า
300 ชนิด มีมดประมาณเกือบ 1,000 ชนิด แต่รวมกันทั้งโลกมีประมาณ 8,000 ชนิด ส่วนแมลงวันทั้งโลกมีเกือบ 10,000 ชนิดด้วยกัน
2.ลักษณะทางกายภาพของแมลง
แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนหัว อกและท้อง ในช่วงอกและท้องไม่ค่อยมีอวัยวะต่างๆมากมาย และในส่วนหัว จะประกอบไปด้วยกกะโหลกและอวัยวะต่างๆ ดังนี้
ตา หนวด ปาก คอ อก ขา ปีก และท้อง
2.1 วัฏจักรชีวิตของแมลง มี 4 แบบ ดังนี้
2.1.1 การเปลี่ยนแปลงที่สมบูรณ์ มี 4 ขั้น คือ ตัวอ่อน-หนอน-ดักแด้-ผีเสื้อ แมลงวัน ด้วงและยุง
2.1.2 การเปลี่ยนแปลงรูปร่างแต่ไม่สมบูรณ์ มี 3 ขั้น คือ วางไข่-ตัวอ่อน(หายใจทางเหงือก)-ลอกคราบ เช่น แมลงปอและแมลงชีปะขาว
2.1.3 การเปลี่ยนแปลงรูปร่างทีละน้อย คือ ไข่-ตัวอ่อน-ลอกคราบ เช่น แมลงสาบ เหา และปลวก
2.1.4 การเปลี่ยนแปลงรูปร่างเลย เปลี่ยนแต่ขนาด เมื่อฟักไข่ เช่น แมลงสองง่าม แมลงหางดีด และแมลงสามง่าม
3.วิวัฒนาการการกินและขยายพันธุ์ของแมลง
แมลงจะกินตั้งแต่ลำต้น ใบ ดอก รากและผลของพืช
แมลงจะขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ ตัวเป็นแม่จะวางไข่ไว้กับแหล่งอาหารเพื่อให้ลูกที่ฟักออกมามีอาหารกัดกินอย่างอุดมสมบูรณ์
-แมลงตัวผู้จะมี อัณฑะ 1 คู่ ในอัณฑะจะมีท่ออสุจิ ผลิตอสุจิ
4.มุมมองด้านลบของแมลง
แมลงสามารถทำลายผลิตผลทางเกษตร ได้แก่ เพลี้ยไฟ หนอนกระทู้กล้า แมลงบั่ว หนอนห่อใบข้าว แมลงสิง เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล
แมลงร้ายที่เป็นศัตรูพืชชนิดอื่นๆ นอกจากทำลายนาข้าว ได้แก่ มออดิน เพลี้ยยข้าวโพดอ่อน หนอนเจาะฟักข้าวโพด ตั๊กแตนปาทังก้า เพลี้ยไก่แจ้ เพลี้ยแป้ง
แมลงที่ทำร้ายมนุษย์ ได้แก่ แมลงหวี่ แมลงวันบ้าน แมลงวันหัวเขียว ยุง
5.ความแตกต่างของแมลงกับแมง
แมลง
-มี 3 ส่วน คือ หัว อกและท้อง
-แมลงมี 6 ขา
-แมลงมีทั้งมีปีกและไม่มีปีก อาจจะมีปีก 1 หรือ 2 คู่
-แมลงมีทั้งแบบตารวมและตาเดี่ยว
แมง
-มี 2 ส่วน คือ หัวและท้อง
-แมงมี 8-10 ขา
-แมงไม่มีหนวด
-แมงทุกชนิดไม่มีปีก
-แมงไม่มีตารวม มีแต่ตาเดี่ยว
6.การจำแนกประเภทของแมลงตัวน้อย
6.1 กลุ่มแมลงปีกแข็ง
-ด้วงกินพืช เช่น ด้วงน้ำมัน ด้วงขาโต แมลงทับ
-ด้วงกินเนื้อสัตว์ เช่น แมลงตับเต่า
-ด้วงกิน๙ากสัตว์ เช่น ด้วงกว่าง
6.2 กลุ่มผึ้ง
-ผึ้งหลวง ผึ้งมิ้ม ผึ้งโพรง แตน ต่อ หมาร่า
6.3 กลุ่มแมลงในสวน
-ตั๊กแตนกิ่งไม้ยักษ์ แมลงหางหนีบ หิ่งห้อย แมลงเต่าทอง
6.4 กลุ่มแมลงในบ้าน
-แมลงสาบ แมลงสาบอเมริกัน แมลงสาบออสเตรเลีย แมลงสาบสามัญ แมลงสาบเยอรมัน
เห็บสุนัข เหา ตัวเรือด ตัวสามง่าม ตัวมวนเพชรฆาต
6.5 กลุ่มแมลงกินได้
-ตั๊กแตนปาทังก้า แมลงทับราชา ด้วงหนวดยาวอ้อย จักจั่น มดแดง จิ้งหรีด มวนวน
ดักแด้ไหม แมลงดานา
6.6 กลุ่มมด
-มดคันไฟ มดเหม็น มดคันไฟ มดง่าม ปลวก แมลงเม่า
6.7 กลุ่มผีเสื้อ
-วงศ์ผีเสื้อหางติ่ง วงศ์ผีเสื้อป่า
6.8 กลุ่มแมลงน้ำ
-แมลงปอ มวนกรรเชียง จิ้งโจ้น้ำ
6.9 กลุ่มแมลงดีในนา
-จิ้งหรีดหางดาบ ด้วงเต่า
6.10 กลุ่มแมลงกินแมลง
-แมลงตัวห้ำ แมลงตัวเบียน
แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงต่อเวลา และทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่าางตั้งใจค่ะ
ประเมินเพื่อน
มีเพื่อนๆบางส่วนที่ไม่มาเข้าพบอาจารย์ ส่วนคนที่มาก็ตั้งใจทำงานที่อาจารย์มอบหมายให้ทำเสร็จได้ทันตามเวลาที่อาจารย์กำหนดค่ะ
ประเมินอาจารย์
อาจารย์ได้สั่งงานอย่างระเอียด และทำความเข้าใจกับเรื่องชั่วโมงที่เรียนกับนักศึกษาอย่างเข้าใจกันดีค่ะ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)